ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Adrich/ทดลองเขียน13"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adrich (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
Adrich (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
| commander3_label = รรก.เสนาธิการ
| commander3_label = รรก.เสนาธิการ
}}
}}
'''หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง''' ({{อังกฤษ|Mekong Riverine Unit}}) หรือ '''นรข.''' คือหน่วยเฉพาะกิจของ[[กองทัพเรือไทย]]ในการปฏิบัติการทางเรือใน[[แม่น้ำโขง]] ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและ[[ประเทศลาว]]ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ของประเทศไทย
'''หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง''' ({{อังกฤษ|Mekong Riverine Unit}}) หรือ '''นรข.''' คือหน่วยเฉพาะกิจของ[[กองทัพเรือไทย]]ใ��การปฏิบัติการทางเรือใน[[แม่น้ำโขง]] ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและ[[ประเทศลาว]]ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ของประเทศไทย


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 85: บรรทัด 85:
|-
|-
|สถานีเรือเชียงคาน
|สถานีเรือเชียงคาน
|[[อำเภอเชียงคาน|เชียงคาน]]
|[[Chiang Khan District|Chiang Khan]]
|[[จังหวัดเลย|เลย]]
|{{flag|Loei}}
|
|
|-
|-
|สถานีเรือสังคม
|สถานีเรือสังคม
|[[อำเภอสังคม|สังคม]]
|[[Sangkhom District|Sangkhom]]
|[[จังหวัดหนองคาย|หนองคาย]]
|{{flag|Nong Khai}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือหนองคาย
|Nong Khai Boat Station
|[[อำเภอเมืองหนองคาย|เมืองหนองคาย]]
|[[Mueang Nong Khai District|Mueang Nong Khai]]
|[[จังหวัดหนองคาย|หนองคาย]]
|{{flag|Nong Khai}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือรัตนวาปี
|Rattanawapi Boat Station
|[[อำเภอรัตนวาปี|รัตนวาปี]]
|[[Rattanawapi District|Rattanawapi]]
|[[จังหวัดหนองคาย|หนองคาย]]
|{{flag|Nong Khai}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือโพนพิสัย
|Phon Phisai Boat Station
|[[อำเภอโพนพิสัย|โพนพิสัย]]
|[[Phon Phisai District|Phon Phisai]]
|[[จังหวัดหนองคาย|หนองคาย]]
|{{flag|Nong Khai}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือศรีเชียงใหม่
|Si Chiang Mai Boat Station
|[[อำเภอศรีเชียงใหม่|ศรีเชียงใหม่]]
|[[Si Chiang Mai District|Si Chiang Mai]]
|[[จังหวัดหนองคาย|หนองคาย]]
|{{flag|Nong Khai}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือบึงกาฬ
|Bueng Kan Boat Station
|[[อำเภอเมืองบึงกาฬ|เมืองบึงกาฬ]]
|[[Mueang Bueng Kan District|Mueang Bueng Kan]]
|[[จังหวัดบึงกาฬ|บึงกาฬ]]
|{{flag|Bueng Kan}}
|
|
|-
|-
! colspan="6" style="background: lavender;" |เขตนครพนม
! colspan="6" style="background: lavender;" |เขตนครพนม
|-
|-
สถานีเรือบ้านแพง
|Ban Phaeng Boat Station
|[[อำเภอบ้านแพง|บ้านแพง]]
|[[Ban Phaeng District|Ban Phaeng]]
|[[จังหวัดนครพนม|นครพนม]]
|{{flag|Nakhon Phanom}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือนครพนม
|Nakhon Phanom Boat Station
|[[อำเภอเมืองนครพนม|เมืองนครพนม]]
|[[Mueang Nakhon Phanom District|Mueang Nakhon Phanom]]
|[[จังหวัดนครพนม|นครพนม]]
|{{flag|Nakhon Phanom}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือธาตุพนม
|That Phanom Boat Station
|[[อำเภอธาตุพนม|ธาตุพนม]]
|[[That Phanom District|That Phanom]]
|[[จังหวัดนครพนม|นครพนม]]
|{{flag|Nakhon Phanom}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือมุกดาหาร
|Mukdahan Boat Station
|[[อำเภอเมืองมุกดาหาร|เมืองมุกดาหาร]]
|[[Mueang Mukdahan District|Mueang Mukdahan]]
|[[จังหวัดมุกดาหาร|มุกดาหาร]]
|{{flag|Mukdahan}}
|
|
|-
|-
! colspan="6" style="background: lavender;" |เขตอุบลราชธานี
! colspan="6" style="background: lavender;" |เขตอุบลราชธานี
|-
|-
สถานีเรือเขมราฐ
|Khemarat Boat Station
|[[อำเภอเขมราฐ|เขมราฐ]]
|[[Khemarat District|Khemarat]]
|[[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]]
|{{flag|Ubon Ratchathani}}
|
|
|-
|-
สถานีเรือโขงเจียม
|Khong Chiam Boat Station
|[[อำเภอโขงเจียม|โขงเจียม]]
|[[Khong Chiam District|Khong Chiam]]
|[[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]]
|{{flag|Ubon Ratchathani}}
|
|
|}
|}
* เขตเชียงราย
** สถานีเรือเชียงแสน
** สถานีเรือเชียงของ
* เขตหนองคาย
** สถานีเรือเชียงคาน
** สถานีเรือสังคม
** สถานีเรือศรีเชียงใหม่
** สถานีเรือหนองคาย
** สถานีเรือโพนพิสัย
** สถานีเรือรัตนวาปี
** สถานีเรือบึงกาฬ
* เขตนครพนม
** สถานีเรือบ้านแพง
** สถานีเรือนครพนม
** สถานีเรือธาตุพนม
** สถานีเรือมุกดาหาร
* เขตอุบลราชธานี
** สถานีเรือเขมราฐ
** สถานีเรือโขงเจียม

== ภารกิจ ==
== ภารกิจ ==
หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง มีภารกิจหลักในการป้องกันและรักษาอธิปไตยของไทยซึ่งรวมไปถึงผลประโยชน์และความมั่นคงของประเทศไทยตามลำน้ำโขง ดูแลพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวเพื่อป้องกันปราบปรามการกระทำผิดกฎหมาย สนับสนุนกำลังทางบกในการรักษาความมั่นคงของประเทศ รวมถึงยังปกป้องคุ้มครองและช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบตามหลักมนุษยธรรม<ref>{{Cite web|title=วิสัยทัศน์ - Royal Thai Navy|url=https://www.mru.navy.mi.th/index.php/today/index|url-status=live|website=www.mru.navy.mi.th}}</ref>
หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง มีภารกิจหลักในการป้องกันและรักษาอธิปไตยของไทยซึ่งรวมไปถึงผลประโยชน์และความมั่นคงของประเทศไทยตามลำน้ำโขง ดูแลพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวเพื่อป้องกันปราบปรามการกระทำผิดกฎหมาย สนับสนุนกำลังทางบกในการรักษาความมั่นคงของประเทศ รวมถึงยังปกป้องคุ้มครองและช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบตามหลักมนุษยธรรม<ref>{{Cite web|title=วิสัยทัศน์ - Royal Thai Navy|url=https://www.mru.navy.mi.th/index.php/today/index|url-status=live|website=www.mru.navy.mi.th}}</ref>


== ยุทโธปกรณ์ ==
== ยุทโธปกรณ์ ==
[[ไฟล์:U.S. Sailors assigned to Security Forces Assistance Detachment, Maritime Civil Affairs and Security Training Command ride in riverine boats with Thai marines and sailors in the Nakhon Nayok River during 130608-N-RG360-209.jpg|thumb|เรือตรวจการณ์รูปแบบเดียวกันของกองเรือลำน้ำ ระหว่างการฝึกร่วมผสมกับสหรัฐที่[[แม่น้ำนครนายก]]]]
หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง
หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง ใช้อาวุธและยุทโธปกรณ์ในอัตราของกองเรือลำน้ำ กองเรือยุทธการ ในการลาดตระเวนตรวจการณ์ในลำแม่น้ำโขง ซึ่งเรือหลักที่ใช้งานคือ เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ<ref>{{Cite web|last=นาคพุ่ม|first=เอกพล|date=วันจันทร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2565|title=AAG_th บันทึกประจำวัน: Marsun เป็นผู้ชนะโครงการสร้างเรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำใหม่ ๔ลำแก่กองทัพเรือไทย|url=https://aagth1.blogspot.com/2022/04/marsun.html|website=AAG_th บันทึกประจำวัน}}</ref>

== วัฒนธรรมประชานิยม ==
หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง ถูกกล่าวถึงในบทเพลงผ่านชื่อเก่าของหน่วยในบทเพลงชื่อว่า ''หนุ่ม นปข.'' แต่งโดย ครูสุรินทร์ ภาคศิริ<ref>{{Cite web|date=2010-12-22|title=สังสัรรค์ศิษย์ทิดโส ฉลองวันเกิด 4 ครูเพลง|url=https://www.komchadluek.net/entertainment/83477|website=komchadluek|language=th}}</ref> ต้นฉบับขับร้องโดย สุริยา ฟ้าปทุมเมื่อปี พ.ศ. 2515 และนำมาขับร้องใหม่อีกครั้งโดย [[ไผ่ พงศธร]] ในปี พ.ศ. 2555 ทำให้ได้รับรางวัลมหานครอวอร์ดส ครั้งที่ 9 ประจำปี 2555 สาขา เพลงลูกทุ่งฮิตเก่าทำใหม่ยอดนิยม<ref>{{Cite web|title=ประวัติ ไผ่ พงศธร หรือ พงศธร ศรีจันทร์|url=https://music.trueid.net/th-th/detail/EwEZb4kRW6l2|website=https://music.trueid.net|language=th}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:45, 15 มิถุนายน 2567

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง
ประจำการ20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513; 54 ปีก่อน (2513-11-20)
ประเทศ ไทย
ขึ้นต่อกองเรือลำน้ำ กองเรือยุทธการ
เหล่าNaval flag of ไทย กองทัพเรือไทย
รูปแบบหน่วยเฉพาะกิจ
กองบัญชาการตำบลอาจสามารถ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
สมญานขร.
คำขวัญอริล้ำมิรั้งรอ นรข.จะต่อตี ใต้ร่มธงนาวี ปฐพีจักร่มเย็น
ผู้บังคับบัญชา
ผบ.นรข.พลเรือตรี นรินทร์ ขาวเจริญ
รอง ผบ.นรข.นาวาเอก ณฐพัฒน์ ซื่อมงคล
รรก.เสนาธิการนาวาเอก แมนรัตน์ บุญสวัสดิ์

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง (อังกฤษ: Mekong Riverine Unit) หรือ นรข. คือหน่วยเฉพาะกิจของกองทัพเรือไทยในการปฏิบัติการทางเรือในแม่น้ำโขง ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยความยาว 928 กิโลเมตร[1]

ประวัติ

แต่เดิม หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง (นรข.) มีชื่อว่า หน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง (นปข.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นหน่วยปฏิบัติการในการเอาชนะการต่อสู้กับลัทธิคอมมิวนิสต์ อยู่ในสังกัดของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ในเวลาต่อมา ภัยจากลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ลดความรุนแรง ซึ่งภัยคุกคามได้เปลี่ยนไปจากในประเทศเป็นจากนอกประเทศ ทำให้หน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขงได้ถูกปรับให้เป็นหน่วยงานตามแผนป้องกันประเทศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ในฐานะของหน่วยเฉพาะกิจของกองทัพเรือ และขึ้นตรงด้านยุทธการกับกองทัพภาคที่ 2 กองทัพบกไทย[2]

ต่อมาในพื้นที่จังหวัดเชียงรายซึ่งมีแม่น้ำโขงเป็นแนวพรมแดนเช่นเดียวกันได้เกิดปัญหายาเสพติด และการลักลอบเข้าเมืองผ่านทางพรมแดนธรรมชาติคือแม่น้ำโขง จึงได้มีการประสานและร้องขอไปยังกองทัพเรือให้จัดกำลังเข้าปฏิบัติการในแม่น้ำโขงช่วงจังหวัดเชียงรายเช่นเดียวกับในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 กองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง เขตเชียงราย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการป้องกันประเทศในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และขึ้นตรงด้านยุทธการกับกองทัพภาคที่ 3[2]

จากนั้นได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีร่วมไทย - ลาว ที่เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก ประเทศลาว และจังหวัดอุบลราชธานีในวันที่ 20-21 มีนาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งได้หารือเกี่ยวกับประเด็นด้านความมั่นคง และมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นกับหน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง โดยได้เปลี่ยนชื่อหน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง และมอบหมายภารกิจในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นหลัก และได้รับภารกิจในการป้องกันอาชญากรรมข้ามชาติมาด้วยหลังจากนั้น ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงกลาโหมในการเปลี่ยนชื่อเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 จากชื่อเดิม หน่วยปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง คำย่อ "นปข." เป็น หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง คำย่อ "นรข." มอบหมายภารกิจในการรักษาความสงบเรียบร้อยตลอดลำแม่น้ำโขงรวมไปถึงพื้นที่ชายฝั่งแม่น้ำ เน้นไปในการปฏิบัติการป้องกันการกระทำที่ผิดกฎหมายที่ส่งผลต่อความมั่นคงของชาติ และการช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติต่าง ๆ ตามกรอบของหลักมนุษยธรรม[2]

โครงสร้าง

ส่วนบัญชาการ

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง มีการจัดหน่วยภายในส่วนบัญชาการ ได้แก่

  • ธก.-กพ.นรข.
  • ยก.-ขว.นรข.
  • กบ.นรข.
  • ฝ่ายกิจการพลเรือน (กพร.นรข.)
  • ซบ.นรข.
  • ฝ่ายคลังและบริการ
  • ชุดปฏิบัติการพิเศษ (ชปพ.นรข.)
  • กองร้อยป้องกัน

หน่วยขึ้นตรง

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง มีส่วนปฏิบัติการสถานีเรือเป็นฐานปฏิบัติการตลอดแม่น้ำโขงส่วนที่เป็นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ดังนี้[3]

สถานีเรือ อำเภอ จังหวัด หมายเหตุ
เขตเชียงราย
สถานีเรือเชียงแสน เชียงแสน เชียงราย
สถานีเรือเชียงของ เชียงของ เชียงราย
เขตหนองคาย
สถานีเรือเชียงคาน เชียงคาน เลย
สถานีเรือสังคม สังคม หนองคาย
สถานีเรือหนองคาย เมืองหนองคาย หนองคาย
สถานีเรือรัตนวาปี รัตนวาปี หนองคาย
สถานีเรือโพนพิสัย โพนพิสัย หนองคาย
สถานีเรือศรีเชียงใหม่ ศรีเชียงใหม่ หนองคาย
สถานีเรือบึงกาฬ เมืองบึงกาฬ บึงกาฬ
เขตนครพนม
สถานีเรือบ้านแพง บ้านแพง นครพนม
สถานีเรือนครพนม เมืองนครพนม นครพนม
สถานีเรือธาตุพนม ธาตุพนม นครพนม
สถานีเรือมุกดาหาร เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร
เขตอุบลราชธานี
สถานีเรือเขมราฐ เขมราฐ อุบลราชธานี
สถานีเรือโขงเจียม โขงเจียม อุบลราชธานี

ภารกิจ

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง ความยาว 928 กิโลเมตร[1] มีภารกิจหลักในการป้องกันและรักษาอธิปไตยของไทยซึ่งรวมไปถึงผลประโยชน์และความมั่นคงของประเทศไทยตามลำน้ำโขง ดูแลพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวเพื่อป้องกันปราบปรามการกระทำผิดกฎหมาย สนับสนุนกำลังทางบกในการรักษาความมั่นคงของประเทศ รวมถึงยังปกป้องคุ้มครองและช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบตามหลักมนุษยธรรม[4]

ยุทโธปกรณ์

เรือตรวจการณ์รูปแบบเดียวกันของกองเรือลำน้ำ ระหว่างการฝึกร่วมผสมกับสหรัฐที่แม่น้ำนครนายก

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง ใช้อาวุธและยุทโธปกรณ์ในอัตราของกองเรือลำน้ำ กองเรือยุทธการ ในการลาดตระเวนตรวจการณ์ในลำแม่น้ำโขง ซึ่งเรือหลักที่ใช้งานคือ เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ[5]

วัฒนธรรมประชานิยม

หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง ถูกกล่าวถึงในบทเพลงผ่านชื่อเก่าของหน่วยในบทเพลงชื่อว่า หนุ่ม นปข. แต่งโดย ครูสุรินทร์ ภาคศิริ[6] ต้นฉบับขับร้องโดย สุริยา ฟ้าปทุมเมื่อปี พ.ศ. 2515 และนำมาขับร้องใหม่อีกครั้งโดย ไผ่ พงศธร ในปี พ.ศ. 2555 ทำให้ได้รับรางวัลมหานครอวอร์ดส ครั้งที่ 9 ประจำปี 2555 สาขา เพลงลูกทุ่งฮิตเก่าทำใหม่ยอดนิยม[7]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "ผู้บัญชาการทหารเรือตรวจเยี่ยมหน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง เขตเชียงราย". www.navy.mi.th.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. 2.0 2.1 2.2 "Royal Thai Navy - Detail History". www.mru.navy.mi.th.
  3. "แผนผังการจัดหน่วย". www.mru.navy.mi.th.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. "วิสัยทัศน์ - Royal Thai Navy". www.mru.navy.mi.th.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. นาคพุ่ม, เอกพล (วันจันทร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2565). "AAG_th บันทึกประจำวัน: Marsun เป็นผู้ชนะโครงการสร้างเรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำใหม่ ๔ลำแก่กองทัพเรือไทย". AAG_th บันทึกประจำวัน. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "สังสัรรค์ศิษย์ทิดโส ฉลองวันเกิด 4 ครูเพลง". komchadluek. 2010-12-22.
  7. "ประวัติ ไผ่ พงศธร หรือ พงศธร ศรีจันทร์". https://music.trueid.net. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)